เว็บไซต์ Discovery Channel ได้จัดอันดับโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 9 โครงการที่ใหญ่ที่สุด (มีแซวเล่นๆ ด้วยว่า “นับตั้งแต่สร้างปีรามิดขึ้นมา”) ไม่เรียงลำดับ ทั้ง 9 โครงการได้แก่
* Large Hadron collider - น่าจะรู้จักกันหมดแล้ว ถ้ายัง ดูข่าวเก่า
* The International Thermonuclear Experimental Reactor (ITER) - เตาปฏิกรณ์ฟิวชัน ตั้งอยู่ทางใต้ของฝรั่งเศส กำหนดเสร็จปี 2015 ถ้าทำงานแล้วจะผลิตพลังงานฟิวชันได้ 500 MW ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
* สถานีอวกาศนานาชาติ - เวอร์ชันสมบูรณ์ กำหนดเสร็จปี 2011
* หอคอยพลังแสงอาทิตย์ในออสเตรเลีย - สูง 3,280 ฟุตหรือประมาณหนึ่งกิโลเมตร ที่ต้องสร้างให้สูงขนาดนี้เพราะต้องการทดสอบหลัก “อากาศร้อนลอยขึ้น” ว่าจะเอามาปั่นไฟได้ขนาดไหน หอคอยที่ทำงานเต็มประสิทธิภาพจะผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 200 MW
* โปรแกรมจำลองสภาพอากาศโลก - เหมือน SETI@Home แต่เป็นการจำลองภาวะโลกร้อนแทน รายละเอียดดูได้จาก climateprediction.net
* กล้องโทรทรรศน์ James Webb Space Telescope - NASA สร้างแทนกล้องฮับเบิลตัวเก่า จะลอยในวงโคจรระดับ 1.5 ล้านกิโลเมตรเหนือผิวโลก สูงกว่าฮับเบิล 3 เท่าตัว กำหนดเสร็จปี 2013
* Svalbard International Seed Vault - นอร์เวย์ขุดถ้ำใต้ภูเขาบนเกาะแถวๆ ขั้วโลกเหนือ เพื่อเก็บรักษาพันธุ์พืชที่เป็นอาหารทุกชนิดในโลก ป้องกันการสูญพันธุ์พืชในอนาคต
* ลิฟต์อวกาศ - เพื่อขนย้ายวัตถุขึ้นสู่วงโคจรได้ในราคาถูกกว่าการยิงจรวด
* ANTARES - กล้องโทรทรรศน์ใต้น้ำ เป้าหมายคือตรวจหาอนุภาคนิวตริโน อยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตอนใต้ของฝรั่งเศส
แหล่งทีมาข้อมูล:Discovery Channel
http://www.blognone.com
วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
9 โครงการทางวิทยาศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
เว็บไซต์ Discovery Channel ได้จัดอันดับโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 9 โครงการที่ใหญ่ที่สุด (มีแซวเล่นๆ ด้วยว่า “นับตั้งแต่สร้างปีรามิดขึ้นมา”) ไม่เรียงลำดับ ทั้ง 9 โครงการได้แก่
* Large Hadron collider - น่าจะรู้จักกันหมดแล้ว ถ้ายัง ดูข่าวเก่า
* The International Thermonuclear Experimental Reactor (ITER) - เตาปฏิกรณ์ฟิวชัน ตั้งอยู่ทางใต้ของฝรั่งเศส กำหนดเสร็จปี 2015 ถ้าทำงานแล้วจะผลิตพลังงานฟิวชันได้ 500 MW ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
* สถานีอวกาศนานาชาติ - เวอร์ชันสมบูรณ์ กำหนดเสร็จปี 2011
* หอคอยพลังแสงอาทิตย์ในออสเตรเลีย - สูง 3,280 ฟุตหรือประมาณหนึ่งกิโลเมตร ที่ต้องสร้างให้สูงขนาดนี้เพราะต้องการทดสอบหลัก “อากาศร้อนลอยขึ้น” ว่าจะเอามาปั่นไฟได้ขนาดไหน หอคอยที่ทำงานเต็มประสิทธิภาพจะผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 200 MW
* โปรแกรมจำลองสภาพอากาศโลก - เหมือน SETI@Home แต่เป็นการจำลองภาวะโลกร้อนแทน รายละเอียดดูได้จาก climateprediction.net
* กล้องโทรทรรศน์ James Webb Space Telescope - NASA สร้างแทนกล้องฮับเบิลตัวเก่า จะลอยในวงโคจรระดับ 1.5 ล้านกิโลเมตรเหนือผิวโลก สูงกว่าฮับเบิล 3 เท่าตัว กำหนดเสร็จปี 2013
* Svalbard International Seed Vault - นอร์เวย์ขุดถ้ำใต้ภูเขาบนเกาะแถวๆ ขั้วโลกเหนือ เพื่อเก็บรักษาพันธุ์พืชที่เป็นอาหารทุกชนิดในโลก ป้องกันการสูญพันธุ์พืชในอนาคต
* ลิฟต์อวกาศ - เพื่อขนย้ายวัตถุขึ้นสู่วงโคจรได้ในราคาถูกกว่าการยิงจรวด
* ANTARES - กล้องโทรทรรศน์ใต้น้ำ เป้าหมายคือตรวจหาอนุภาคนิวตริโน อยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตอนใต้ของฝรั่งเศส
แหล่งทีมา :Discovery Channel
http://www.blognone.com
* Large Hadron collider - น่าจะรู้จักกันหมดแล้ว ถ้ายัง ดูข่าวเก่า
* The International Thermonuclear Experimental Reactor (ITER) - เตาปฏิกรณ์ฟิวชัน ตั้งอยู่ทางใต้ของฝรั่งเศส กำหนดเสร็จปี 2015 ถ้าทำงานแล้วจะผลิตพลังงานฟิวชันได้ 500 MW ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
* สถานีอวกาศนานาชาติ - เวอร์ชันสมบูรณ์ กำหนดเสร็จปี 2011
* หอคอยพลังแสงอาทิตย์ในออสเตรเลีย - สูง 3,280 ฟุตหรือประมาณหนึ่งกิโลเมตร ที่ต้องสร้างให้สูงขนาดนี้เพราะต้องการทดสอบหลัก “อากาศร้อนลอยขึ้น” ว่าจะเอามาปั่นไฟได้ขนาดไหน หอคอยที่ทำงานเต็มประสิทธิภาพจะผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 200 MW
* โปรแกรมจำลองสภาพอากาศโลก - เหมือน SETI@Home แต่เป็นการจำลองภาวะโลกร้อนแทน รายละเอียดดูได้จาก climateprediction.net
* กล้องโทรทรรศน์ James Webb Space Telescope - NASA สร้างแทนกล้องฮับเบิลตัวเก่า จะลอยในวงโคจรระดับ 1.5 ล้านกิโลเมตรเหนือผิวโลก สูงกว่าฮับเบิล 3 เท่าตัว กำหนดเสร็จปี 2013
* Svalbard International Seed Vault - นอร์เวย์ขุดถ้ำใต้ภูเขาบนเกาะแถวๆ ขั้วโลกเหนือ เพื่อเก็บรักษาพันธุ์พืชที่เป็นอาหารทุกชนิดในโลก ป้องกันการสูญพันธุ์พืชในอนาคต
* ลิฟต์อวกาศ - เพื่อขนย้ายวัตถุขึ้นสู่วงโคจรได้ในราคาถูกกว่าการยิงจรวด
* ANTARES - กล้องโทรทรรศน์ใต้น้ำ เป้าหมายคือตรวจหาอนุภาคนิวตริโน อยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตอนใต้ของฝรั่งเศส
แหล่งทีมา :Discovery Channel
http://www.blognone.com
วันอาทิตย์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2551
WiMax เทคโนโลยีใหม่ที่กำลังจะมาถึง
WiMax คืออะไร ?
WiMax เป็นชื่อเรียกเทคโนโลยีไร้สายรุ่นใหม่ล่าสุดที่คาดหมายกันว่า จะถูกนำมาใช้งานในอนาคต อันใกล้นี้ โดย WiMax เป็นชื่อย่อของ Worldwide Interoperability for Microwave Access ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูงรุ่นใหม่ที่ถูก พัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งต่อมา ก็ได้พัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16a ขึ้น โดยได้อนุมัติออกมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 โดยสถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซึ่งมีรัศมีทำการที่ 30 ไมล์ หรือเป็นระยะทางประมาณ 48 กิโลเมตร ซึ่งนั่นหมายความว่า WiMax สามารถ ให้บริการครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G มากถึง 10 เท่า ยิ่งกว่านั้นก็ยังมีอัตราความเร็วในการส่งผ่าน ข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่งเร็วกว่า 3G ถึง 30 เท่าทีเดียว
แม้ว่าในขณะนี้ WiMax จะเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ยังไม่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย แต่ WiMax ก็ถือว่า เป็นเทคโนโลยีที่มีอนาคตสดใส เป็นทางเลือก หนึ่งที่จะเข้ามาช่วยตอบสนองความต้องการการใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงซึ่งมีแนวโน้มเติบโต อย่างรวดเร็วได้เป็นอย่างดี และหากมองถึงประโยชน์ในการ ขยายเครือข่ายบรอดแบนด์ให้เข้าถึงพื้นที่ที่อยู่ห่างไกลแล้ว ผลประโยชน์ก็จะเกิดขึ้นกับผู้ใช้งานทุกคนที่จะมีโอกาสได้ใช้เครือข่ายสื่อสารความเร็วสูงอย่าง เท่าเทียมกัน รวมไปถึงการช่วยสร้างรายได้และโอกาสทางการตลาดให้กับเหล่าโอเปอเรเตอร์ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย รวมทั้งบรรดาผู้ผลิต อุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้อง และเชื่อได้ว่าในอนาคตอันใกล้นี้ เราจะได้สัมผัสกับเทคโนโลยี WiMax อย่างแพร่หลายเช่นเดียวกับที่ Wi-Fi ประสบความสำเร็จอยู่ในปัจจุบัน
แหล่งที่มาของข่าวสารเรื่อง : WiMax เทคโนโลยีใหม่ที่กำลังจะมาถึง
http://www.nextproject.net
http://www.arip.co.th/2006/news.php?id=403665
WiMax เป็นชื่อเรียกเทคโนโลยีไร้สายรุ่นใหม่ล่าสุดที่คาดหมายกันว่า จะถูกนำมาใช้งานในอนาคต อันใกล้นี้ โดย WiMax เป็นชื่อย่อของ Worldwide Interoperability for Microwave Access ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูงรุ่นใหม่ที่ถูก พัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งต่อมา ก็ได้พัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16a ขึ้น โดยได้อนุมัติออกมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 โดยสถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซึ่งมีรัศมีทำการที่ 30 ไมล์ หรือเป็นระยะทางประมาณ 48 กิโลเมตร ซึ่งนั่นหมายความว่า WiMax สามารถ ให้บริการครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G มากถึง 10 เท่า ยิ่งกว่านั้นก็ยังมีอัตราความเร็วในการส่งผ่าน ข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่งเร็วกว่า 3G ถึง 30 เท่าทีเดียว
แม้ว่าในขณะนี้ WiMax จะเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ยังไม่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย แต่ WiMax ก็ถือว่า เป็นเทคโนโลยีที่มีอนาคตสดใส เป็นทางเลือก หนึ่งที่จะเข้ามาช่วยตอบสนองความต้องการการใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงซึ่งมีแนวโน้มเติบโต อย่างรวดเร็วได้เป็นอย่างดี และหากมองถึงประโยชน์ในการ ขยายเครือข่ายบรอดแบนด์ให้เข้าถึงพื้นที่ที่อยู่ห่างไกลแล้ว ผลประโยชน์ก็จะเกิดขึ้นกับผู้ใช้งานทุกคนที่จะมีโอกาสได้ใช้เครือข่ายสื่อสารความเร็วสูงอย่าง เท่าเทียมกัน รวมไปถึงการช่วยสร้างรายได้และโอกาสทางการตลาดให้กับเหล่าโอเปอเรเตอร์ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย รวมทั้งบรรดาผู้ผลิต อุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้อง และเชื่อได้ว่าในอนาคตอันใกล้นี้ เราจะได้สัมผัสกับเทคโนโลยี WiMax อย่างแพร่หลายเช่นเดียวกับที่ Wi-Fi ประสบความสำเร็จอยู่ในปัจจุบัน
แหล่งที่มาของข่าวสารเรื่อง : WiMax เทคโนโลยีใหม่ที่กำลังจะมาถึง
http://www.nextproject.net
http://www.arip.co.th/2006/news.php?id=403665
Streaming Media Technology
รู้จัก Streaming Media Technology
ปัจจุบันนี้สื่อผสม(Multimedia) ได้มีการนำมาใช้ในงานนำเสนอในหลายรูปแบบสำหรับวิธีการส่งข้อมูล Audio และ Video ผ่าน web browser มีอยู่ 2 ประเภทใหญ่ๆคือ การใช้ Web Server ในการนำข้อมูลส่งไปยัง โปรแกรมที่ใช้นำเสนสื่อนั้นๆ และอีกวิธีหนึ่งคือการใช้ Streaming Media Server ซึ่งจะใช้ Server โดยเฉพาะในการให้บริการข้อมูล Audio/Video ถ้าเป็นเมื่อก่อน การนำเสนอสื่อ Audio/Video บน Web จะใช้การ download-and-play ซึ่งการที่จะชมสื่อนั้นๆได้นั้น จะต้องทำการ download ข้อมูลทั้งหมดมาก่อนจึงจะสามารถเล่นได้ ซึ่งถึงแม้จะเป็นสื่อขนาดเล็กเพียง 30 วินาทีก็ตาม อาจจะต้องใช้เวลา Download ถึง 20 นาทีก่อนที่จะสามารถนำมาใช้ฟัง/ชม ได้
แต่ปัจจุบันการชม Audio/Video จาก Streaming Media Server จะแตกต่างออกไป โดยที่ Streaming Media file จะเริ่มเกือบจะในทันทีที่เล่น ระหว่างที่ข้อมูลกำลังถูกส่ง ผู้ชมสามารถรับฟัง/ชม สื่อนั้นๆได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องรอให้ download ข้อมูลทั้งหมดก่อน ไม่ว่าสื่อนั้นๆจะมีขนาด 30 วินาที หรือ 30 นาทีก็ตาม โดยมี Buffer เป็นตัวช่วย จุดเด่นของการใช้ Streaming Media Server : เป็นผู้ให้บริการ1. ใช้ Protocol ซึ่งเหมาะสมกับการนำเสนอ Realtime Audio/Video ซึ่งก็คือ UDP2. ถูกออกแบบเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้จำนวนมาก3. สามารถเพิ่มบริการพิเศษต่างๆได้เช่น pay-per-view หรือการติดโฆษณา4. สามารถปรับเปลี่ยน การส่งข้อมูลให้เหมาะสมสำหรับ client แต่ละรายได้ดี5. สามารถควบคุมการนำเสนอได้ เช่นควบคุมให้ดูได้เฉพาะกลุ่ม หรือช่วงเวลา
แหล่งที่มาของข่าวสารเรื่อง : Streaming Media Technology
http://www.nextproject.net
ปัจจุบันนี้สื่อผสม(Multimedia) ได้มีการนำมาใช้ในงานนำเสนอในหลายรูปแบบสำหรับวิธีการส่งข้อมูล Audio และ Video ผ่าน web browser มีอยู่ 2 ประเภทใหญ่ๆคือ การใช้ Web Server ในการนำข้อมูลส่งไปยัง โปรแกรมที่ใช้นำเสนสื่อนั้นๆ และอีกวิธีหนึ่งคือการใช้ Streaming Media Server ซึ่งจะใช้ Server โดยเฉพาะในการให้บริการข้อมูล Audio/Video ถ้าเป็นเมื่อก่อน การนำเสนอสื่อ Audio/Video บน Web จะใช้การ download-and-play ซึ่งการที่จะชมสื่อนั้นๆได้นั้น จะต้องทำการ download ข้อมูลทั้งหมดมาก่อนจึงจะสามารถเล่นได้ ซึ่งถึงแม้จะเป็นสื่อขนาดเล็กเพียง 30 วินาทีก็ตาม อาจจะต้องใช้เวลา Download ถึง 20 นาทีก่อนที่จะสามารถนำมาใช้ฟัง/ชม ได้
แต่ปัจจุบันการชม Audio/Video จาก Streaming Media Server จะแตกต่างออกไป โดยที่ Streaming Media file จะเริ่มเกือบจะในทันทีที่เล่น ระหว่างที่ข้อมูลกำลังถูกส่ง ผู้ชมสามารถรับฟัง/ชม สื่อนั้นๆได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องรอให้ download ข้อมูลทั้งหมดก่อน ไม่ว่าสื่อนั้นๆจะมีขนาด 30 วินาที หรือ 30 นาทีก็ตาม โดยมี Buffer เป็นตัวช่วย จุดเด่นของการใช้ Streaming Media Server : เป็นผู้ให้บริการ1. ใช้ Protocol ซึ่งเหมาะสมกับการนำเสนอ Realtime Audio/Video ซึ่งก็คือ UDP2. ถูกออกแบบเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้จำนวนมาก3. สามารถเพิ่มบริการพิเศษต่างๆได้เช่น pay-per-view หรือการติดโฆษณา4. สามารถปรับเปลี่ยน การส่งข้อมูลให้เหมาะสมสำหรับ client แต่ละรายได้ดี5. สามารถควบคุมการนำเสนอได้ เช่นควบคุมให้ดูได้เฉพาะกลุ่ม หรือช่วงเวลา
แหล่งที่มาของข่าวสารเรื่อง : Streaming Media Technology
http://www.nextproject.net
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)